ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

พระสมเด็จวัดระฆังพิมพ์ใหญ่พระประธาน : 008 Phra Somdej Wat Rakang,大字體,佛像

 

TJ STUDIO มหาเวทย์

พระสมเด็จวัดระฆัง/บางขุนพรอม/เกศไชโย/พระเครื่องเครื่องรางของขลังทุกวัด


Tananichit Janto  


 0876786405

 013-1-19087-5 นาย ธนนิชิศ จันทร์โท

พระสมวัดระฆังพิมพ์ใหญ่พระประประธาน : 008

Phra Somdej Wat Rakang,大字體,佛像









พระสมเด็จฯ วัดระฆังโฆษิตาราม

            สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังษีSomdej Phra Putthachan(去)Phromrangsee

Somdej Phra Putthachan(qù)Phromrangsee

ประวัติวัดระฆังโฆสิตารามโดยย่อ (ภาษาอังกฤษ) (ภาษาจีน) ด้านล้างของหน้า Rakhang Kositaram寺的簡要歷史(英語)(中文)
Rakhang Kositaram sì de jiǎnyào lìshǐ (yīngyǔ)(zhōngwén)

พระสมเด็จฯ วัดระฆังโฆษิตาราม
พระสมเด็จวัดระฆังโฆษิตาราม สร้างโดย สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังษี เป็นพระเครื่องที่มีผู้นิยมสูงสุดในประเทศไทย และนักนิยมสะสมพระเครื่องทั่วประเทศต่างยกย่องให้เป็นจักรพรรดิ์แห่งพระ เครื่อง จึงทำให้นักนิยมพระเครื่องทั้งเก่าและใหม่ต่างอยากได้ พระสมเด็จวัดระฆังฯ มาไว้ครอบครองบูชากันทุกท่าน
Phra Somdej Wat Rakhang Kositaram
Phm Somdej Wat Rakhang Kositaram由Somdej Phutthachan(To)Phromrangsee建造,是泰國最受歡迎的護身符。 全國各地的護身符收藏家都稱讚佛祖為皇帝,所以新老護身符都渴望 Phra Somdej Wat Rakhang 來擁有並崇拜你們所有人
Phra Somdej Wat Rakhang Kositaram

Phm Somdej Wat Rakhang Kositaram yóu Somdej Phutthachan(To)Phromrangsee jiànzào, shì tàiguó zuì shòu huānyíng de hùshēnfú. Quánguó gèdì de hùshēnfú shōucáng jiā dōu chēngzàn fózǔ wèi huángdì, suǒyǐ xīn lǎo hùshēnfú dōu kěwàng Phra Somdej Wat Rakhang lái yǒngyǒu bìng chóngbài nǐmen suǒyǒu rén
ประวัติวัดระฆังโฆษิตารามโดยย่อ
วัดระฆังโฆษิตารามเป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดวรมหาวิหาร ตั้งอยู่บนถนนอรุณอัมรินทร์ แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานครเป็นวัดเก่าแก่มีมาตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา เดิมชื่อ “วัดบางหว้าใหญ่” มีความสำคัญมาตั้งแต่สมัยกรุงธนบุรี โดย สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ซึ่งมีพระราชวังไม่ไกลจากวัดบางหว้าใหญ่ ทรงปฏิสังขรณ์และยกขึ้นเป็นพระอารามหลวง อีกทั้งได้อาราธนา พระอาจารย์ศรี ให้มาครองวัดนี้และทรงสถาปนาขึ้นเป็น สมเด็จพระสังฆราช (ศรี) มาถึงกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก และเจ้านายในวังหลัง สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยาเทพสุดาวดี (สา) ก็ได้ทรงปฏิสังขรณ์วัดครั้งใหญ่

Wat Rakhang Kositaram的簡史
拉康寺(Wat Rakhang Kositaram)是一等皇家宮殿。型式位於曼谷Noi區Siriraj街道的Arun Amarin路曼谷是一座可追溯至大城府時期的古老寺廟,自吞武里時代起就被塔信大帝(King Taksin the Great)稱為“ Wat Bang Wa Yai”。那裡的宮殿離邦瓦艾廟不遠裝修並將其提升為皇家神廟也受邀Phra Ajahn Sri來佔領這座神廟並建立它為族長(斯里蘭卡)抵達拉達那哥欣玉佛寺Phra Yot Fa,朱拉隆功宮殿裡的老闆克羅姆帕拉(Krom Phraya Thepsudawadi)王子(Sa)還對寺廟進行了翻新。
發現了一個很漂亮的鐘。給了新廟的名字在拉瑪四世之後,“ Wat Rakhang Kositaram”給這座新廟命名,人們不喜歡稱之為“ Wat Ratchakan Thiyaram” (將很難記住並且很難記住)因此仍然被稱為“ Rakhang Wat Kositaram”到目前為止,Rakhang寺有3位先祖,他們是受歡迎的護身符,分別是Somdej Phra Phutthachan(To)Phromrangsee,Somdej Phutachan(Tat)或“ Somdet Pilan”。在本文中,我們將介紹由拉康(Wat Rakhang Kositaram)的第六任住持Somdet Phra Putthachan(To)Phromrangsee創建的Phra Somdej Phra佛護身符。是泰國第一受歡迎的護身符
Wat Rakhang Kositaram de jiǎn shǐ
lā kāng sì (Wat Rakhang Kositaram) shì yī děng huángjiā gōngdiàn. Xíngshì wèiyú màngǔ Noi qū Siriraj jiēdào de Arun Amarin lù màngǔ shì yīzuò kě zhuīsù zhì dà chéngfǔ shíqí de gǔlǎo sìmiào, zì tūn wǔ lǐ shídài qǐ jiù bèi tǎ xìn dàdì (King Taksin the Great) chēng wèi “Wat Bang Wa Yai”. Nàlǐ de gōngdiàn lí bāng wǎ ài miào bù yuǎn zhuāngxiū bìng jiāng qí tíshēng wèi huángjiā shén miào yě shòu yāo Phra Ajahn Sri lái zhànlǐng zhè zuò shén miào bìng jiànlì tā wèi zúzhǎng (sīlǐlánkǎ) dǐdá lā dá nà gē xīn yù fósì Phra Yot Fa, zhū lā lóng gōng gōngdiàn lǐ de lǎobǎn kè luó mǔ pà lā (Krom Phraya Thepsudawadi) wángzǐ (Sa) hái duì sìmiào jìnxíngle fānxīn.

Fāxiànle yīgè hěn piàoliang de zhōng. Gěile xīn miào de míngzì zài lā mǎ sì shì zhīhòu,“Wat Rakhang Kositaram” gěi zhè zuò xīn miào mìngmíng, rénmen bù xǐhuān chēng zhī wèi “Wat Ratchakan Thiyaram” (jiāng hěn nán jì zhù bìngqiě hěn nán jì zhù) yīncǐ réngrán bèi chēng wèi “Rakhang Wat Kositaram” dào mùqián wéizhǐ,Rakhang sì yǒu 3 wèi xiānzǔ, tāmen shì shòu huānyíng de hùshēnfú, fēnbié shì Somdej Phra Phutthachan(To)Phromrangsee,Somdej Phutachan(Tat) huò “Somdet Pilan”. Zài běnwén zhōng, wǒmen jiāng jièshào yóu lā kāng (Wat Rakhang Kositaram) de dì liù rèn zhùchí Somdet Phra Putthachan(To)Phromrangsee chuàngjiàn de Phra Somdej Phra fú hùshēnfú. Shì tàiguó dì yī shòu huānyíng de hùshēnfú
ได้มีการขุดพบระฆังลูกหนึ่งซึ่งมีเสียงดังไพเราะจึง ได้พระราชทานนามวัดใหม่ว่า “วัดระฆังโฆษิตาราม” ต่อมาถึงรัชกาลที่ 4 ทรงพระราชทานนามวัดใหม่ว่า “วัดราชกัณฑิยาราม” ซึ่งผู้คนไม่นิยมเรียก (คงจะเรียกยากและจำยาก) จึงยังคงเรียกกันว่า “วัดระฆังโฆษิตาราม” มาจนทุกวันนี้ วัดระฆังฯ มีพระราชาคณะที่สร้างพระเครื่องเป็นที่นิยมถึง 3 องค์ คือ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังษี สมเด็จพระพุฒาจารย์ (ทัด) หรือ “สมเด็จปิลันทน์” และ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ) ในบทความนี้จะเสนอเรื่อง พระพิมพ์ พระสมเด็จฯ สร้างโดย สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังษี เจ้าอาวาสองค์ที่ 6 ของวัดระฆังโฆษิตาราม อันเป็นพระเครื่องยอดนิยมอันดับ 1 ของประเทศไทย

ประวัติของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังษี
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังษี เกิดเมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ.2331 เวลาย่ำรุ่ง ที่ตำบลไก่จ้น อำเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มารดาชื่อเกศ บิดาไม่ปรากฎนาม ว่ากันว่ามารดาท่านเป็นชาวบ้านตำบลท่าเรือ อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ บิดาท่านอาจจะเป็นชาวเมืองกำแพงเพชรก็ได้ เพราะมีบันทึกเขียนว่า “ปีระกา จุลศักราช 1211 (พ.ศ.2391) สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) วัดระฆัง กรุงเทพฯ ขึ้นมา เยี่ยมญาติ ณ เมืองกำแพงเพชร” ซึ่งแสดงว่าท่านมีญาติเป็นชาวเมืองกำแพงเพชร สมเด็จฯ ท่านเกิดในรัชกาลที่ 1 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ท่านมีอายุยืนยาวถึง 5 รัชกาล เมื่อครั้งมีการปั้นพระบรมรูปรัชกาลที่ 1 (ปัจจุบันอยู่ที่ปราสาทพระเทพบิดร) ผู้ปั้นต้องอาศัยผู้ที่เกิดทันและเคยเห็นรัชกาลที่ 1 ซึ่งในขณะนั้นมีเหลือเพียงไม่กี่คน บอกพระลักษณะพระองค์ หนึ่งในนั้นก็คือ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังษี ขอประมวลประวัติของท่านโดยย่อในที่นี้ ดังนี้

- เกิด 17 เมษายน พ.ศ.2331
- บรรพชาเป็นสามเณรเมื่อ พ.ศ.2342 อายุ 12 ที่ วัดสังเวชวิศยาราม มี พระบวรวิริยเถร (อยู่) เป็นพระอุปัชฌาย์ บวชแล้วข้ามไปศึกษาในสำนัก พระพุทธโฆษาจารย์ (นาค) วัดระฆังฯ โดย ท่านเจ้าคุณอรัญญิก วัดอินทรวิหาร เป็นผู้นำไปฝากตัว พ.ศ.2350 อุปสมบที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยรัชกาลที่ 1 ทรงเป็นนาคหลวง สมเด็จพระสังฆราช (สุก) วัดมหาธาตุ เป็นพระอุปัชฌาย์
- พ.ศ.2395 ในสมัยรัชกาลที่ 4 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็น “พระธรรมกิติ”
- พ.ศ.2397 โปรดฯ ให้เลื่อนเป็นพระราชาคณะผู้ใหญ่ที่ “พระเทพกวี”
- พ.ศ.2407 โปรดสถาปนาเป็น “สมเด็จพระพุฒาจารย์”
- วันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ.2415 มรณภาพ ชนมายุ 85 ปี

ผู้เรียบเรียงขอให้สังเกตบางประการ ซึ่งผู้คนอาจมองข้ามไปคือ

1. สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ “พระธรรมกิติ” เป็นครั้งแรกใน พ.ศ.2395 รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 ในระหว่างรัชกาลที่ 1 ถึง รัชกาลที่ 3 (หลังจากสมเด็จฯ บรรพชา พ.ศ.2350 - พ.ศ.2394) ซึ่งเป็นเวลายาวนานร่วม 44 ปี ท่านมิได้มีสมณศักดิ์ใดๆ คงเป็น “ขรัวโต” ซึ่งผู้คนในสมัยนั้นนิยมเรียกกัน ดังนั้นข้อที่ว่าในสมัยรัชกาลที่ 3 สมเด็จฯ ท่านหลีกเลี่ยงที่จะได้รับสมณศักดิ์ โดยออกธุดงค์แทบทุกปี จึงเป็นเรื่องที่น่ารับฟัง ต่อเมื่อมาถึงรัชกาลที่ ท่านถึงยอมรับการแต่งตั้งให้เป็นพระราชาคณะ “พระธรรมกิติ” เป็นสมณศักดิ์แรก ต่อมาเป็น “พระเทพกวี” และ “สมเด็จพุฒาจารย์” ในที่สุด

2. เจ้าอาวาสวัดระฆังโฆษิตารามองค์ก่อนสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) ก็คือ สมเด็จพระพน (ฤกษ์) ท่านเป็นเจ้าอาวาสองค์ที่ 5 ของวัดระฆังฯ มาตั้งแต่ พ.ศ.2373 จนถึงมรณภาพในปลายรัชกาลที่ 3 (พ.ศ.2390 - พ.ศ.2393) จากนั้นสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) จึงได้เป็นเจ้าอาวาสวัดระฆังฯ องค์ต่อมา ซึ่งคงจะอยู่ในช่วงรอยต่อรัชกาลที่ 3 ถึงรัชกาลที่ 4 ดังนั้นสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) จึงเป็นเจ้าอาวาสวัดระฆังฯ องค์ที่เมื่อท่านอายุร่วม 65 ปี แล้ว และครองวัดระฆังฯ ได้ประมาณ 20 ปี จึงมรณภาพในวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ.2415
การสร้างพระสมเด็จฯ
ตามประวัติของเจ้าประคุณสมเด็จฯ ในตอนก่อน จะเห็นได้ว่าท่านเป็นพระที่ไม่ยึดติดในยศศักดิ์และไม่มีภาระในการปกครองวัด ท่านจึงมีเวลาและมีอิสระในการออกธุดงค์เป็นเวลายาวนาน เป็นที่ยอมรับว่าท่านเป็นผู้ทรงคุณในทางวิปัสสนาธุระ เล่ากันว่าท่านเป็นศิษย์ของ ขรัวตาแสง วัดมณีชลขันธ์ จังหวัดลพบุรี ซึ่งรัชกาลที่ 5 ทรงรับสั่งว่าเป็นผู้มีวิชา “เดินตั้งแต่เมืองลพบุรี ลงมาฉันเพลที่กรุงเทพฯ ได้” แต่ไม่มีหลักฐานแน่ชัดในเรื่องนี้ส่วนสาเหตุของการสร้างพระสมเด็จฯ นั้นมี 2 กระแส คือ
กระแสแรก ว่ามีพระภิกษุในเมืองเขมรที่มีความนับถือในตัวท่าน อาราธนาขอให้สร้างพระพิมพ์เพื่อเป็นที่ระลึก เมื่อท่านกลับมาจึงสร้างพระสมเด็จฯ ตามที่ถูกร้องขอ ในเรื่องนี้น่าสงสัย คือ ในประเทศเขมรหรือกัมพูชานั้นไม่มีคติในการสร้างพระพิมพ์เลย เหตุใดพระภิกษุเขมรที่ว่าจึงมีแนวคิดขอให้ท่านสร้างพระเครื่องได้
อีกกระแสหนึ่ง สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) ได้ธุดงค์ไปจังหวัดกำแพงเพชร ในพ.ศ.2391 ได้พบแผ่นศิลาให้รายละเอียดเกี่ยวกับการสร้างพระเจดีย์บรรจุพระพิมพ์ (พระซุ้มกอ พระเม็ดขนุน ฯลฯ) เมื่อกลับมากรุงเทพฯ (หลังจากนั้นได้กว่า 10 ปี ท่านจึงสร้างพระสมเด็จฯ ขึ้นมาแจกชาวบ้าน ในเรื่องนี้น่ารับฟังกว่าเพราะมีบันทึกหลักฐานดังที่ว่า อนึ่ง ตามคำบอกเล่าของ
เจ้าคุณธรรมถาวร (ช่วง) ลูกศิษย์ของสมเด็จฯ ทราบว่าท่านเริ่มพระพิมพ์ในราว พ.ศ.2409 เมื่อท่านมีอายุ 78 ปี สร้างอยู่ในราว 6 ปี จึงมรณภาพใน พ.ศ.2415
แม่พิมพ์พระสมเด็จฯ
พิมพ์มาตรฐานที่วงการพระยอมรับมีอยู่เพียง 5 พิมพ์ คือ
1. พิมพ์ใหญ่ สันนิษฐานว่านำรูปแบบมาจากพระประธานสมัยสุโขทัย
2. พิมพ์เจดีย์ มีลักษณะพุทธศิลปสกุลช่างเชียงแสน
3. พิมพ์เกศบัวตูม พุทธลักษณะคล้ายพระเชียงแสนสิงห์
4. พิมพ์ฐานแซม มีพุทธศิลปแบบพระบูชาสมัยอู่ทอง
5. พิมพ์ปรกโพธิ์ มีสองแบบ คือ แบบพิมพ์ฐานแซมกับพิมพ์เกศบัวตูม
ทุกพิมพ์เป็นพิมพ์พระพุทธประทับนั่งขัดสมาธิ มีฐานสามชั้น ไม่ปรากฏรายละเอียด ของพระพักตร์ นับว่าเป็นศิลป์สมัยใหม่คือ เป็นเพียงลายเส้น พระพิมพ์ก่อนหน้านั้นจะให้รายละเอียดมีพระเนตร พระนาสิก ฯลฯ ถือได้ว่าพระพิมพ์สมเด็จฯ มีพุทธศิลปแบบสมัยใหม่ มีเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง อีกทั้งทำด้วยผงวิเศษซึ่งนับว่าเป็นของใหม่ (ก่อนหน้านั้นจะทำด้วยดินหรือชิน)
เนื้อพระ
มวลสารของพระสมเด็จฯ ส่วนใหญ่เป็นปูนขาว ผสมผงพระพุทธคุณ คือ ผงมหาราช อิทธิเจ ปถมัง ตรีนิสิงเห ฯลฯ โดยท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯ เป็นผู้ทำผงกรรมวิธีแบบโบราณ คือ เขียนบนกระดานชนวน เขียนแล้วลบ รวบรวมผงนำมาสร้างพระ นอกจากนี้ยังมีอิทธิวัตถุอื่น เช่น ใบลานเผา ว่าน อิฐหัก ดอกไม้บูชาพระ ฯลฯ ทั้งหมดนำมาโขลกผสมประสานด้วยน้ำมันตังอิ้ว ทำให้เนื้อพระไม่เปราะหรือแตกหักง่าย
จำนวนการสร้างและความนิยม
คงจะเป็นการยากที่จะทราบจำนวนการสร้างของพระสมเด็จฯ เพราะท่านสร้างเป็นครั้งเป็นคราว ตามปริมาณวัสดุที่มี และไม่มีผู้นับจำนวนไว้ แต่ท่านสร้างเป็นเวลาราว 6 ปี คือ พ.ศ.2409 - พ.ศ.2415 เจ้าคุณทิพโกษา (สอน โลหะนันท์) ผู้เกิดทันเห็นท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯ ได้บันทึกเรื่องพระสมเด็จฯ และความนิยมของผู้คนไว้เมื่อ พ.ศ.2473 ความว่า “วันเมื่อ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) มาถึงวัดระฆังฯ (ท่านมรณภาพที่วัดอินทรวิหาร บางขุนพรหม) พระธรรมถาวร (ช่วง) พระราชาคณะที่มีอายุ 88 ปี มีตัวถึงวันเรียงประวัติเรื่องนี้ ได้ตักพระพิมพ์แจกชำร่วยแก่บรรดาผู้มาส่งศพ สักการะศพ เคารพศพนั้น
แจกทั่วกันคนละองค์สององค์ ท่านประมาณราวสามหมื่นองค์ที่แจกไป และต่อๆ มาก็แจกเรื่อย เดี๋ยวนี้จะหาสักครึ่งองค์ก็ไม่มี มีแต่จำเพาะตนๆ” ความข้างต้นให้ข้อมูลว่าพระสมเด็จวัดระฆังฯ มีการสร้างจำนวนเป็นหมื่น ไม่ทราบว่าตัวเลขจะถูกต้องหรือไม่ แต่ก็ต้องเป็นจำนวนมากถึงกล่าวไว้เช่นนั้น และเมื่อมาถึง พ.ศ.2473 (วันบันทึกเรื่อง) พระสมเด็จฯ ก็หายากแล้ว “เดี๋ยวนี้จะหาสักครึ่งองค์ก็ไม่มี” แสดงว่าผู้คนนิยมและแสวงหากันมาก เมื่อมาถึงปัจจุบันแทบจะหาดูยังไม่ได้ พระที่สภาพสมบูรณ์มีราคาหลายล้านบาท ถือว่าเป็นพระเครื่องที่มีราคาสูงที่สุดของวงการ ท่านผู้มีฐานะดีระดับเศรษฐีเท่านั้นถึงจะมีไว้ครอบครองได้
ข้อสังเกตและลักษณะในการศึกษาและเรียนรู้การดูพระสมเด็จเบื้องต้น
1. การสังเกตและจดจำ พิมพ์-ทรง-ความคม-ลึก ของพระสมเด็จในแต่ละพิมพ์ เช่น การจดจำพุทธลักษณะของพระเกศ พระพักตร์ การวางวงแขน การประทับนั่ง ซ้อนขา ฐานขององค์พระ เส้นซุ้มบนขอบกระจก เพราะพระในแต่ละพิมพ์จะมีลักษณะเด่นที่แตกต่างกันไป ขนาดขององค์พระที่เป็นองค์จริง (พระแท้) ของพระในแต่ละพิมพ์ ซึ่งพระในพิมพ์เดียวกันมักมีขนาดที่ใกล้เคียงกัน อาจจะแตกต่างกันบ้างเล็กน้อยเรื่องของความหนา-บางของพระ หรือความสูง-ความกว้างขององค์พระ คิดว่าคงเกิดจากการใช้เนื้อวัสดุในการสร้างพระ และการตัดขอบพระมากน้อยไม่เท่ากันทุกองค์
2. การสังเกตและดูด้านหลังองค์พระ ซึ่งเป็นเอกลักษณ์สำคัญของพระสมเด็จวัดระฆังในแต่ละพิมพ์ การดูลักษณะการทำงานด้านหลังขององค์พระ และพระใน แต่ละพิมพ์ก็จะมองเห็นการทำงานไว้หลายลักษณะ เข้าใจว่าเกิดจากการใช้วัตถุช่วยในการกดเนื้อพระลงบนพิมพ์พระ จึงทำให้เห็นลักษณะด้านหลังองค์พระเป็นเอกลักษณ์สำคัญอีกอย่างหนึ่งในการ พิจารณาพระสมเด็จวัดระฆังพิมพ์ต่างๆ
3. การสังเกตดูรอยการตัดขอบ ขององค์พระทั้ง 4 ด้านของพระในแต่ละพิมพ์ (สังเกตจากภาพ)
4. สังเกตดูลักษณะพื้นผิวขขององค์พระ เช่นการส่องดูลักษณะความแห้งแล้งของพื้นผิวพระและเนื้อพระ รอยปิ รอยแยกบนพื้นผิวขององค์พระทั้งด้านหน้าและด้านหลัง การยุบและการหดตัวขององค์พระ ซึ่งเกิดจากความแห้งแล้งของเนื้อพระ ที่ผ่านกาลเวลามานานนับร้อยปีโดยเป็นธรรมชาติ
5. สังเกตดูเนื้อหามวลสาร ที่เป็นส่วนผสมขององค์พระ อาจจะสังเกตได้จาก พื้นผิวด้านหน้า-ด้านหลัง-ขอบข้างขององค์พระ (ในองค์พระที่ผ่านการใช้มามากและเสียผิวก็จะสามารถมองเห็นมวลสารได้มากกว่า องค์พระที่มีสภาพสมบูรณ์ไม่ผ่านการใช้)สิ่งที่กล่าวถึงมานี้คงต้องใช้ ประสบการณ์ในการศึกษาและการเรียนรู้จากการได้ดูองค์พระจริงๆ (พระแท้ ซึ่งเป็นที่ยอมรับของวงการพระ) เป็นเวลานานพอสมควรจึงจะค่อยๆ พัฒนาให้เกิดความเข้าใจอย่างถูกต้องมากยิ่งขึ้น หลักการที่กล่าวมานี้เป็นเพียงแนวทางในการศึกษาและเรียนรู้เบื้องต้นเท่า นั้น
​มวลสารหลักที่ใช้ในการสร้างพระสมเด็จวัดระฆัง สูตรของสมเด็จพุฒาจารย์(โต พรหมรํสี)

จากบันทึกคำบอกเล่าของหลวงวิจารณ์เจียรนัย(โกเฮง)ที่ให้ไว้กับ โกเลี่ยง (หลาน) เมื่อปี พ.ศ. 2452 และคำบอกเล่าทั้งหมดได้ตกทอดมาถึง      โกสิน (เหลน) ในปี พ.ศ. 2502 จวบจนถึงปัจจุบันนี้ สรุปมวลสารทั้งหมดที่เจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์(โต พรหมฺรํสี) ปลุกเสกใช้สร้างพระสมเด็จวัดระฆัง มีดังต่อไปนี้

1.ปูนเปลือกหอย  หมายถึงการนำเปลือกหอยที่ได้จากทะเลมาเผาไฟ แล้วนำไปตำให้ละเอียด นำไปล่อนด้วยตะแกงทองคำให้ได้ผงที่ละเอียด ผสมกับน้ำพระพุทธมนต์ศักดิ์สิทธิ์ที่เจ้าประคุณสมเด็จโตฯ ท่านจัดเตรียมไว้เรียบร้อยแล้วเพื่อให้จับตัวกันเป็นปูนเปลือกหอย

2.อิฐแดง หมายถึง เศษอิฐต่างๆที่นำมาจากเจดีย์เก่า กำแพงวัดเก่าที่ผุพัง พระกำแพงซุ้มกอ ตามเส้นทางที่เจ้าประคุณสมเด็จโตฯได้ธุดงค์ผ่านไป ได้แก่วัดต่างๆ เช่น วัดกำแพง วัดพระนอน วัดสะตือ และวัดอื่นๆเป็นต้น รวมทั้งตะไคร้น้ำที่ติดมากับก้อนอิฐแดงบางก้อน แล้วนำไปบดให้ละเอียด ล่อนด้วยตะแกงทองคำอีกครั้งเพื่อให้ได้ผงที่ละเอียดมากยิ่งขึ้น

3.ผงพุทธคุณ หมายถึงการนำใบลานเก่าที่เจ้าประคุณสมเด็จโตฯได้เขียนคาถาต่างๆไว้ในใบลานนั้น นำไปทำการเผาด้วยไฟ ผสมกับดอกไม้แห้งต่างๆที่ท่านนำไปบูชาพระแล้วนำไปบดให้ละเอียด ซึ่งจะปรากฏเป็นจุดดำๆบนเนื้อพระสมเด็จวัดระฆัง

4.ผงกฤติยาคม หมายถึงการนำเม็ดขนมต้มที่นำไปตากแดดแล้วนำไปบดให้ละเอียดผสมกับข้าวสุกที่ญาติโยมนำไปถวายให้ท่านฉัน ซึ่งจะปรากฏเป็นสีขาวขุ่นบนองค์พระสมเด็จวัดระฆัง

5.ผงอิทธิเจ หมายถึง การนำเอาเทียนชัยที่เหลือจากการผ่านพิธีกรรมต่างๆมาแล้วนำไปผสมกับชอลค์เพื่อใช้เขียนพระคาถาชินบัญชร ลงในใบลานแล้วนำไปลูบเอาผงที่เขียนพระคาถานั้นมาเป็นมวลสาร

6.ผงตะไบเงิน ผงตะไบทอง จะปรากฏเห็นเป็นสีเงินสีทองสะท้อนแสงบนองค์พระสมเด็จวัดระฆัง

7.แป้งทาหน้างิ้ว จะปรากฏให้เห็นเป็นสีขุ่นๆ เช่นสีฟ้าคราม สีเขียว สีแดง เป็นต้น

8.หินฟันม้า จะปรากฏให้เห็นเป็นสีขาว

9.ว่านตรีนิสิงห์เห จะปรากฏให้เห็นเป็นสีเหลืองขมิ้น มีพุทธคุณโดดเด่นด้านเมตตา ด้านมหานิยม ด้านแคล้วคลาดจากภัยพิบัติอันตรายต่างๆทั้งปวง

10.ว่านสบู่เลือด จะปรากฏให้เห็นเป็นสีแดง มีพุทธคุณโดดเด่นด้านอยู่ยงคงกระพันชาตรี

11.น้ำอ้อยเคี่ยว ใช้สำหรับประสานมวลสาร

12.น้ำมันตังอิ้ว จะปรากฏให้เห็นเป็นสีเหลืองค่อนข้างมัน (ใช้สำหรับประสานมวลสาร)

13.เม็ดลูกปัดหลากสี ทำจากหิน พลอย นำไปบดให้ละเอียด จะปรากฏให้เห็นเป็นสีต่างๆ ขุ่นๆ ขาวๆ สุกใสกว่าสีแป้งทาหน้างิ้ว

14.มวลสารพิเศษ ได้จากการอธิษฐานจิต ได้แก่องค์เม็ดพระบรมสารีริกธาตุมีสีขาวใส สีขาวขุ่นออกเขียว เหล็กไหลปีกแมลงทับสีดำมันวาว เหล็กไหลเงินยวงสีเงิน
Phra Somdej Wat Rakhang Kositaram
Phm Somdej Wat Rakhang Kositaram由Somdej Phutthachan(To)Phromrangsee建造,是泰国最受欢迎的护身符。全国各地的护身符收藏家都称赞佛祖为皇帝,所以新老护身符都希望Phra Somdej Wat Rakhang来拥有并崇拜你们所有人
Wat Rakhang Kositaram的简史
拉康寺(Wat Rakhang Kositaram)是一等皇家宫殿。型式位于曼谷Noi区Siriraj街道的Arun Amarin路曼谷是一座可追溯到大城府时期的古庙,自吞武里时代起就被大信国王大信王称为“ Wat Bang Wa Yai”。那里的宫殿离邦瓦艾庙不远装修并将其提升为皇家神庙也受邀Phra Ajahn Sri来占领这座圣殿并建立它为族长(斯里兰卡)抵达拉达那哥欣玉佛寺Phra Yot Fa,朱拉隆功宫殿里的老板克罗姆帕拉(Krom Phraya Thepsudawadi)王子(Sa)对寺庙进行了翻新。
发现了一个很漂亮的钟。给了新庙的名字在拉玛四世之后,“ Wat Rakhang Kositaram”给这座新庙命名,人们不喜欢称之为“ Wat Ratchakan Thiyaram” (将很难记住并且很难记住)因此仍然被称为“ Rakhang Wat Kositaram”到目前为止,Rakhang寺有3位先祖,他们是受欢迎的护身符,分别是Somdej Phra Phutthachan(To)Phromrangsee,Somdej Phutachan(Tat)或“ Somdet Pilan”。在本文中,我们将介绍由隆康寺(Wat Rakhang Kositaram)的第六任住持Somdet Phra Putthachan(To)Phromrangsee创建的Phra Somdej Phra佛护身符。是泰国第一受欢迎的护身符
Somdej Phuttha Chan(To)Phromrangsee的历史
Somdej Phra Putthachan(致)Phromrangsee于1788年4月17日出生,黎明时分在帕那空府府大城府Tha Ruea区Kai Chan街道。据说他的母亲是程逸府Mueang区Tha Ruea街道的一个村民。他的父亲可能是甘烹碧府的居民。因为有记录表明“ Rochakrachakul 1211年(1848年),Somdej Phra Putthachan(至),曼谷Rakhang寺来探访甘烹碧府的亲戚”表明您有亲戚是甘烹碧府的居民。生于朱拉隆功市拉玛一世国王(King Rama 1)统治时期他最多可以居住5个统治时期,当拉玛1雕像(现在位于帕特普·哈多恩城堡)时,雕刻家不得不依靠出生并见过拉玛1的人,当时只剩下几个人。描述他的性格其中之一是Somdej Phra Putthachan(To)Phromrangsee想在这里汇编您的简要历史记录,如下所示:

-生于1788年4月17日
-1799年12岁时在Sangthawit Wisayaram寺被任命为新手,梵天主教(Brahma Wiriya Synod)活着。受命然后跳到学校读书Phra Phutthakasajarn(Nak)拉康寺(Than Chao Khun Aranyik)因塔威汉神庙在公元前2350年被带入翡翠佛庙,其中拉玛1号为纳迦皇家Wat Mahathat的先祖(Suk)是圣师。
-1852年,在拉玛四世国王统治期间,他被授予“达姆马基蒂”
-公元1854年(公元前),请升任为“帕府诗人”的高级族长
-公元前1864年,请建立“ Somdej Phra Putthachan”
-1872年6月22日,这位85岁的老人去世。

编辑要求观察一些事情。哪些人可能会忽略

1. Somdej Phra Putthachan(To)获得王室头衔1852年,在拉玛四世(Rama 1)到拉玛3(Rama 3)统治期间(国王Ph下,公元前2350年-公元前)首次出现“ Phra Dhammakiti” 1851年),这已经有44年了,他没有任何神圣的头衔。那时候人们普遍称之为“烧毁”因此,根据条款,在拉玛三世统治期间,je下应避免接受僧侣几乎每年远足因此是应该听到的当谈到统治所以他接受了任命为大主教“佛法寺”是第一个佛教姿势,然后是“佛卡普”和“佛塔赞”。

2. Wat Rakhang Kositaram的住持,在Somdej Phra Putthachan(至)之前是Somdej Phraphon(吉祥),他是Wat Rakhang的第五任住持,从1830年到第三位统治结束。 (B.E. 2390-B.E. 2393)。之后,Somdej Phutchan(To)成为拉康寺(Wat Rakhang)的住持,这大概是在拉玛三世国王和拉玛四世统治期间。 Phra Puttha Chan(To)是Rakhang Temple的住持。他65岁那年占领了Rakhang寺约20年,于1872年6月22日去世。
创造国王
根据赵坤坤的历史,过去可以看出他是一位不隶属官阶,没有义务管理圣殿的和尚。因此,他有时间和自由地远足很长时间。众所周知,他是Vipassana业务的专家。告诉他他是Manee Chonkhan Temple的Karua Ta Saeng的学生华富里府拉玛五世命令他上一门课程“从华富里走可以去曼谷的普莱森顿。“但是在这方面没有确切的证据。至于je下的创立,有两种趋势
第一个趋势是柬埔寨有一些僧侣尊重您。要求建造一个奉献碑作为纪念当你回来建造国王。根据要求在这方面,令人怀疑的是,在柬埔寨或柬埔寨,没有原则来制造奉献片。柬埔寨和尚为什么有想法要您建造护身符?
另一趋势1848年,Somdej Phra Putthachan(已成年)远足到甘烹碧府。找到了一块石板以提供详细信息。
Phra Somdej Wat Rakhang Kositaram
Phm Somdej Wat Rakhang Kositaram yóu Somdej Phutthachan(To)Phromrangsee jiànzào, shì tàiguó zuì shòu huānyíng de hùshēnfú. Quánguó gèdì de hùshēnfú shōucáng jiā dōu chēngzàn fózǔ wèi huángdì, suǒyǐ xīn lǎo hùshēnfú dōu xīwàng Phra Somdej Wat Rakhang lái yǒngyǒu bìng chóngbài nǐmen suǒyǒu rén
Wat Rakhang Kositaram de jiǎn shǐ
lā kāng sì (Wat Rakhang Kositaram) shì yī děng huángjiā gōngdiàn. Xíngshì wèiyú màngǔ Noi qū Siriraj jiēdào de Arun Amarin lù màngǔ shì yīzuò kě zhuīsù dào dà chéngfǔ shíqí de gǔ miào, zì tūn wǔ lǐ shídài qǐ jiù bèi dà xìn guówáng dà xìn wáng chēng wèi “Wat Bang Wa Yai”. Nàlǐ de gōngdiàn lí bāng wǎ ài miào bù yuǎn zhuāngxiū bìng jiāng qí tíshēng wèi huángjiā shén miào yě shòu yāo Phra Ajahn Sri lái zhànlǐng zhè zuò shèng diàn bìng jiànlì tā wèi zúzhǎng (sīlǐlánkǎ) dǐdá lā dá nà gē xīn yù fósì Phra Yot Fa, zhū lā lóng gōng gōngdiàn lǐ de lǎobǎn kè luó mǔ pà lā (Krom Phraya Thepsudawadi) wángzǐ (Sa) duì sìmiào jìnxíngle fānxīn.
Fāxiànle yīgè hěn piàoliang de zhōng. Gěile xīn miào de míngzì zài lā mǎ sì shì zhīhòu,“Wat Rakhang Kositaram” gěi zhè zuò xīn miào mìngmíng, rénmen bù xǐhuān chēng zhī wèi “Wat Ratchakan Thiyaram” (jiāng hěn nán jì zhù bìngqiě hěn nán jì zhù) yīncǐ réngrán bèi chēng wèi “Rakhang Wat Kositaram” dào mùqián wéizhǐ,Rakhang sì yǒu 3 wèi xiānzǔ, tāmen shì shòu huānyíng de hùshēnfú, fēnbié shì Somdej Phra Phutthachan(To)Phromrangsee,Somdej Phutachan(Tat) huò “Somdet Pilan”. Zài běnwén zhōng, wǒmen jiāng jièshào yóu lóngkāng sì (Wat Rakhang Kositaram) de dì liù rèn zhùchí Somdet Phra Putthachan(To)Phromrangsee chuàngjiàn de Phra Somdej Phra fú hùshēnfú. Shì tàiguó dì yī shòu huānyíng de hùshēnfú
Somdej Phuttha Chan(To)Phromrangsee de lìshǐ
Somdej Phra Putthachan(zhì)Phromrangsee yú 1788 nián 4 yuè 17 rìchūshēng, límíng shífēn zài pà nà kōng fǔ fǔ dà chéngfǔ Tha Ruea qū Kai Chan jiēdào. Jùshuō tā de mǔqīn shì chéng yì fǔ Mueang qū Tha Ruea jiēdào de yīgè cūnmín. Tā de fùqīn kěnéng shì gān pēng bì fǔ de jūmín. Yīnwèi yǒu jìlù biǎomíng “Rochakrachakul 1211 nián (1848 nián),Somdej Phra Putthachan(zhì), màngǔ Rakhang sì lái tànfǎng gān pēng bì fǔ de qīnqī” biǎomíng nín yǒu qīnqī shì gān pēng bì fǔ de jūmín. Shēng yú zhū lā lóng gōng shì lā mǎ yīshì guówáng (King Rama 1) tǒngzhì shíqí tā zuìduō kěyǐ jūzhù 5 gè tǒngzhì shíqí, dāng lā mǎ 1 diāoxiàng (xiànzài wèiyú pà tè pǔ·hā duō ēn chéngbǎo) shí, diāokè jiā bùdé bù yīkào chūshēng bìng jiànguò lā mǎ 1 de rén, dāngshí zhǐ shèng xià jǐ gèrén. Miáoshù tā dì xìnggé qízhōng zhī yī shì Somdej Phra Putthachan(To)Phromrangsee xiǎng zài zhèlǐ huìbiān nín de jiǎnyào lìshǐ jìlù, rúxià suǒ shì:

-Shēng yú 1788 nián 4 yuè 17 rì
-1799 nián 12 suì shí zài Sangthawit Wisayaram sì bèi rènmìng wèi xīnshǒu, fàn tiānzhǔjiào (Brahma Wiriya Synod) huózhe. Shòumìng ránhòu tiào dào xuéxiào dúshū Phra Phutthakasajarn(Nak) lā kāng sì (Than Chao Khun Aranyik) yīn tǎ wēi hàn shén miào zài gōngyuán qián 2350 nián bèi dài rù fěicuì fú miào, qízhōng lā mǎ 1 hào wèi nà jiā huángjiā Wat Mahathat de xiānzǔ (Suk) shì shèng shī.
-1852 Nián, zài lā mǎ sì shì guówáng tǒngzhì qíjiān, tā bèi shòuyǔ “dá mǔ mǎ jī dì”
-gōngyuán 1854 nián (gōngyuán qián), qǐng shēngrèn wèi “pà fǔ shīrén” de gāojí zúzhǎng
-gōngyuán qián 1864 nián, qǐng jiànlì “Somdej Phra Putthachan”
-1872 nián 6 yuè 22 rì, zhè wèi 85 suì de lǎorén qùshì.

Biānjí yāoqiú guānchá yīxiē shìqíng. Nǎxiē rén kěnéng huì hūlüè

1. Somdej Phra Putthachan(To) huòdé wángshì tóuxián 1852 nián, zài lā mǎ sì shì (Rama 1) dào lā mǎ 3(Rama 3) tǒngzhì qíjiān (guówáng Ph xià, gōngyuán qián 2350 nián-gōngyuán qián) shǒucì chūxiàn “Phra Dhammakiti” 1851 nián), zhè yǐjīng yǒu 44 niánle, tā méiyǒu rènhé shénshèng de tóuxián. Nà shíhòu rénmen pǔbiàn chēng zhī wèi “shāohuǐ” yīncǐ, gēnjù tiáokuǎn, zài lā mǎ sānshì tǒngzhì qíjiān,je xià yīng bìmiǎn jiēshòu sēnglǚ jīhū měinián yuǎnzú yīncǐ shì yīnggāi tīng dào dí dàng tán dào tǒngzhì suǒyǐ tā jiēshòule rènmìng wéi dàzhǔjiào “fófǎ sì” shì dì yīgè fójiào zīshì, ránhòu shì “fó kǎ pǔ” hé “fó tǎ zàn”.

2. Wat Rakhang Kositaram de zhùchí, zài Somdej Phra Putthachan(zhì) zhīqián shì Somdej Phraphon(jíxiáng), tā shì Wat Rakhang de dì wǔ rèn zhùchí, cóng 1830 nián dào dì sān wèi tǒngzhì jiéshù. (B.E. 2390-B.E. 2393). Zhīhòu,Somdej Phutchan(To) chéngwéi lā kāng sì (Wat Rakhang) de zhùchí, zhè dàgài shì zài lā mǎ sānshì guówáng hé lā mǎ sì shì tǒngzhì qíjiān. Phra Puttha Chan(To) shì Rakhang Temple de zhùchí. Tā 65 suì nà nián zhànlǐngle Rakhang sì yuē 20 nián, yú 1872 nián 6 yuè 22 rì qùshì.
Chuàngzào guówáng
gēnjù zhàokūnkūn de lìshǐ, guòqù kěyǐ kàn chū tā shì yī wèi bù lìshǔ guānjiē, méiyǒu yìwù guǎnlǐ shèng diàn de héshàng. Yīncǐ, tā yǒu shíjiān hé zìyóu dì yuǎnzú hěn cháng shíjiān. Zhòngsuǒzhōuzhī, tā shì Vipassana yèwù de zhuānjiā. Gàosù tā tā shì Manee Chonkhan Temple de Karua Ta Saeng de xuéshēng huá fùlǐ fǔ lā mǎ wǔ shì mìnglìng tā shàng yī mén kèchéng “cóng huá fùlǐ zǒu kěyǐ qù màngǔ de pǔ lái sēn dùn.“Dànshì zài zhè fāngmiàn méiyǒu quèqiè de zhèngjù. Zhìyú je xià de chuànglì, yǒu liǎng zhǒng qūshì
dì yī gè qūshì shì jiǎnpǔzhài yǒu yīxiē sēnglǚ zūnzhòng nín. Yāoqiú jiànzào yī gè fèngxiàn bēi zuòwéi jìniàn dāng nǐ huílái jiànzào guówáng. Gēnjù yāoqiú zài zhè fāngmiàn, lìng rén huáiyí de shì, zài jiǎnpǔzhài huò jiǎnpǔzhài, méiyǒu yuánzé lái zhìzào fèngxiàn piàn. Jiǎnpǔzhài héshàng wèishéme yǒu xiǎngfǎ yào nín jiànzào hùshēnfú?

Lìng yī qūshì 1848 nián,Somdej Phra Putthachan(yǐ chéngnián) yuǎnzú dào gān pēng bì fǔ. Zhǎodàole yīkuài shíbǎn yǐ tígōng xiángxì xìnxī.

ความคิดเห็น














ความคิดเห็น

TJ STUDIOOO

TJ TananichitJanto STUDIO มหาเวทย์

TJ STUDIO มหาเวทย์ พระสมเด็จวัดระฆัง/บางขุนพรอม/เกศไชโย/พระเครื่องเครื่องรางของขลังทุกวัด Phra Somdej Wat Rakhang / Bang Khun Prom / Ket Chaiyo / amulet, talisman, talisman every temple Phra Somdej Wat Rakhang /邦坤舞會/ Ket Chaiyo /護身符,護身符,護身符每個寺廟 Tananichit Janto      T ananichit Janto ID 08767864051   0876786405   013-1-19087-5   นาย ธนนิชิศ จันทร์โท พระสมเด็จวัดระฆังโฆสิตาราม Phra Somdej Wat Rakang Khositaram                  พระหลวงพ่อเงินวัดบางคลาน